[Proface] การเชื่อมต่อ Fuji Temp Controller ผ่าน Modbus RS-485

“ Fuji Temperature Controller เป็นอุปกรณ์ควบคุมอุณหภูมิที่มีฟังก์ชันในการเชื่อมต่อกับอุปกรณ์อื่นๆได้ โดยใช้ Protocol Modbus RS-485 ” STEP 1 : ตั้งค่า Fuji Temp Controller สามารถดาวน์โหลด User’s Manual และ Modbus Address ได้จากลิงค์ด้านล่างนี้FUJI Doc Google Drive กดปุ่ม SEL ค้างไว้

Read More

[Proface] การเขียน Ladder Logic ในจอ Proface ด้วย GP Pro EX 4.0x

” จอ HMI Proface มีฟังก์ชันในการเขียนโปรแกรมรูปแบบของ Ladder Logic เพื่อควบคุมการทำงานของคำสั่งต่างๆได้ “ ตัวอย่างนี้จะใช้ HMI Proface รุ่น LT4000 Series โมเดล LT-4201TM ซึ่งมี I/O Module ทำให้สามารถใช้จอ HMI ในการ Control และ Monitor ได้โดยไม่จำเป็นต้องต่อกับ PLC หรือ Device

Read More

[Proface] การตั้งค่า Ethernet IP Address จอ Proface

Proface HMI มี Port รองรับการเชื่อมต่อผ่าน Ethernet เพียงกำหนด ip address ของจอ Proface ให้ตรงกับ Network ที่ต้องการใช้งาน STEP 1 : Offline Mode หากมีแถบแสดง Error Bar ให้กดเลือกเมนูเพิ่มเติม หากไม่มี Error Bar ให้เข้า Offline Mode โดยกดทแยงมุมภายใน

Read More

[Proface] เปลี่ยนคอมพิวเตอร์ PC ให้เป็น HMI Proface ด้วย WinGP

“ อยากทดสอบโปรแกรม HMI Proface ที่เขียนด้วย GP Pro Ex ว่าทำงานได้ตามที่ออกแบบหรือไม่ สามารถจำลองผ่าน PCได้เลย และทดสอบได้ ฟรี!!! ” WinGP เป็นซอฟต์แวร์ที่สามารถจำลอง PC ให้เป็นจอ HMI โดยสามารถติดต่อสื่อสารกับ PLC หรือ device ต่างๆผ่านทาง port serial หรือ ethernet port ได้ STEP 1

Read More

ทำไมเราจำเป็นต้องวัดการสั่นสะเทือน?

การแข่งขันทางธุรกิจของโรงงานอุตสาหกรรมการผลิตและความต้องการของตลาด ทำให้การผลิตสินค้าเป็นไปอย่างต่อเนื่อง เครื่องจักรที่ใช้งานตลอดเวลาไม่มีการหยุดพัก นานวันจะทำให้เครื่องจักรทรุดโทรมหรือเสียหายได้ ไม่ว่าจะมีอาการเสียงดังผิดปกติ,สั่นสะเทือน,ความร้อนและอื่นๆที่เกิด ส่งผลให้สภาพแวดล้อมและสภาพจิตของพนักงานแย่ลง จนกระทั่งเมื่อเครื่องจักรเกิดการ Breaks Down หรือพังเสียหาย ผลกระทบที่ได้รับอันดับแรกเลย นั้นก็คือ “เสียเงินก้อนใหญ่” คุณต้องใช้จ่าย เงินมากมายเพื่อทำการซ่อมแซมเครื่องจักรและอาจจะมีค่าใช้จ่ายอื่นๆมากขึ้นโดยที่ไม่รู้ตัว เช่น ค่าอะไหล่, ค่าเเรงทีมงานช่างซ่อม เป็นต้น เมื่อใช้จ่ายค่าซ่อมแซมแล้วมาควบคู่กับ “ใช้เวลาในการซ่อมบำรุง” แน่นอนว่าการซ่อมบำรุงต้องใช้ระยะเวลาที่นานพอสมควรที่จะตรวจสอบหาสาเหตุของอาการเสียของเครื่องจักร หาอะไหล่ซ่อมแซม หาทีมงานซ่อม วางแผนการซ่อม ซึ่งอาจจะเพิ่มเวลาให้มาขึ้นไปอีก ทำให้เสียเวลาในการผลิตและเสียรายได้ ซึ่งผลกระทบโดยภาพรวมคือ“โอกาสในการทำกำไรน้อยลง”ถ้าเกิดการหยุดผลิตสินค้าไม่ว่าจะสาเหตุใดก็ตาม กำไรที่ได้จากสินค้าลดลงเพราะต้นทุนสินค้าต่อชิ้นมีราคาสูงขึ้น ป้องกันเครื่องจักรของคุณก่อนที่จะได้เกิดปัญหาเหล่านี้

Read More

แนะนำการดูสเปคของใบเกลียวลำเลียง

สกรูลำเลียง(Screw Conveyor) เป็นอุปกรณ์เชิงกลที่ถูกสร้างขึ้นสำหรับขนถ่ายวัสดุต่างๆ ส่วนมากจะนิยมใช้ในการขนถ่ายวัสดุปริมาณมวล เช่น แป้ง,ข้าว,ทรายแห้ง,ซีเมนต์,เม็ดพลาสติกและเมล็ดธัญพืชการเกษตร เป็นต้น สกรูลำเลียงจะมีชิ้นส่วนประกอบหลักที่สำคัญประกอบด้วย 3 อย่างหลักๆ คือ – รางตัวถังหรือท่อลำเลียง– ใบเกลียวสกรูขนถ่าย – ต้นกำลังขับหรือมอเตอร์ ซึ่งสามารถทำได้ทั้งในแนวระนาบหรือแนวลาดเอียง เช่น รางสกรูลำเลียง (Screw Chute Conveyor) ลำเลียงในแนวระนาบ ,ท่อสกรูขนถ่าย (Screw Pipe Conveyor) ลำเลียงในแนวลาดเอียง ขึ้นอยู่ว่าผู้ใช้งานต้องการลำเลียงวัสดุอะไร ในทิศทางไหน

Read More

[Koyo] Monitor PLC ผ่าน Smart Phone/Tablet ด้วย Ladder Tool

คุณเคยเจอปัญหาในการไปหน้างานเพื่อ monitor ladder ของ PLC ที่ต้องแบก Laptop และสายเคเบิลเชื่อมต่อไปที่หน้างาน เพื่อเชื่อมต่อเข้ากับ PLC Ladder Tool เป็น application บนระบบ Android ทำให้สามารถ monitor ladder ของ PLC ผ่านทาง smart phone หรือ tablet นอกจากนี้ยังสามารถแก้ไข ladder และสั่ง run/stop

Read More

หลักการคำนวณหาพิกัดน้ำหนักของ Load Cells

ปัญหาที่พบบ่อยตามโรงงานอุตสาหกรรมทั่วไปที่ต้องเปลี่ยนโหลดเซลล์บ่อยๆก็คือ โหลดเซลล์เสียหาย อันเนื่องมาจากการเลือกใช้พิกัดน้ำหนักของโหลดเซลล์ที่ไม่เหมาะสมกับลักษณะของงาน ฉะนั้นการเลือกพิกัดน้ำหนักของ Load cell จึงเป็นเรื่องที่มีความสำคัญมาก ต้องเลือกให้ถูกต้องและเหมาะสมกับการใช้งาน หากเราเลือกโหลดเซลล์ที่มีพิกัดน้ำหนักน้อยเกินไป จะส่งผลกระทบกับตัวโหลดเซลล์เสียหาย หรือ ถ้าใช้พิกัดน้ำหนักมากเกินไปจะส่งผลให้ค่าน้ำหนักผิดพลาดได้ ซึ่งควรคำนวณหาค่าพิกัดน้ำหนักโหลดเซลล์ต่อตัวเสียก่อนที่จะเลือกซื้อโหลดเซลล์มาใช้งาน สิ่งแรกที่เราต้องคำนึงถึงเป็นอันดับแรกในการคำนวณหาค่าพิกัดน้ำหนักโหลดเซลล์นั่นก็คือ น้ำหนักที่ต้องการชั่ง เราต้องรู้ถึงความต้องการก่อนว่าเราต้องการชั่งอะไร,น้ำหนักที่ต้องการชั่งเท่าไหร่,ค่าความละเอียดน้ำหนักเท่าไหร่ เมื่อได้ค่าน้ำหนักที่ต้องการชั่งแล้วเราต้องรู้ค่าน้ำหนักของภาชนะสำหรับชั่งด้วย(ค่าน้ำหนักของภาชนะที่ยังไม่ได้มีการโหลดน้ำหนักใดใด) แล้วนำค่าน้ำหนักที่ต้องการชั่งมารวมกับค่าน้ำหนักของภาชนะเปล่าจะได้ค่าน้ำหนักรวม เพื่อป้องกันความเสียหายจากแรงกระแทก เช่น ในกรณีที่มีการปล่อยของลงถัง(Load) และปล่อยออกจากถังุ (Unload) เราจึงต้องเผื่อค่ารับน้ำหนักประมาณ 2 เท่าของน้ำหนักรวม(ค่า safety factor) โดยนำค่าน้ำหนักรวมที่ได้มาคูณ จากนั้นเมื่อเราได้คำนวณค่าน้ำหนักทั้งหมดแล้ว

Read More